ประวัติของวันขึ้นปีใหม่ของจีนมีความน่าสนใจเป็นอย่างยิ่ง ในวัฒนธรรมอื่นๆ ความปรารถนาสิ่งที่เราหวังว่าจะได้ปรับปรุง หรือที่เราคิดทำเมื่อเริ่มต้นในปีใหม่
ประวัติของวันขึ้นปีใหม่ของจีนมีความน่าสนใจเป็นอย่างยิ่ง ในวัฒนธรรมอื่นๆ ความปรารถนาสิ่งที่เราหวังว่าจะได้ปรับปรุง หรือที่เราคิดทำเมื่อเริ่มต้นในปีใหม่
ปี | วันที่ | วันที่ | วันที่ |
ปีชวด | 19 กุมภาพันธ์ 2539 | 7 กุมภาพันธ์ 2551 | 25 มกราคม 2563 |
ปีฉลู | 7 กุมภาพันธ์ 2540 | 26 มกราคม 2552 | 12 กุมภาพันธ์ 2564 |
ปีขาล | 28 มกราคม 2541 | 14 กุมภาพันธ์ 2553 | 1 กุมภาพันธ์ 2565 |
ปีเถาะ | 16 กุมภาพันธ์ 2542 | 3 กุมภาพันธ์ 2554 | 22 มกราคม 2566 |
ปีมะโรง | 5 กุมภาพันธ์ 2543 | 23 มกราคม 2555 | 10 กุมภาพันธ์ 2567 |
ปีมะเส็ง | 24 มกราคม 2544 | 10 กุมภาพันธ์ 2556 | 29 มกราคม 2568 |
ปีมะเมีย | 12 กุมภาพันธ์ 2545 | 31 มกราคม 2557 | 17 กุมภาพันธ์ 2569 |
ปีมะแม | 1 กุมภาพันธ์ 2546 | 19 กุมภาพันธ์ 2558 | 6 กุมภาพันธ์ 2570 |
ปีวอก | 22 มกราคม 2547 | 8 กุมภาพันธ์ 2559 | 26 มกราคม 2571 |
ปีระกา | 9 กุมภาพันธ์ 2548 | 28 มกราคม 2560 | 13 กุมภาพันธ์ 2572 |
ปีจอ | 29 มกราคม 2549 | 16 กุมภาพันธ์ 2561 | 3 กุมภาพันธ์ 2573 |
ปีกุน | 18 กุมภาพันธ์ 2550 | 5 กุมภาพันธ์ 2562 | 23 มกราคม 2574 |
วันขึ้นปีใหม่ หรือ วันเที่ยว หรือ วันถือ คือวันที่หนึ่งของเดือนที่หนึ่งของปี (ชิวอิก) วันนี้ ชาวจีนจะถือธรรมเนียมโบราณที่ยังปฏิบัติสืบต่อกันมาถึงปัจจุบัน คือ ไป๊เจีย คือ การไปไหว้ขอพรและอวยพรจากญาติผู้ใหญ่และผู้ที่เคารพรัก โดยนำส้มสีทองไปมอบให้ เหตุที่ให้ส้มก็เพราะออกเสียงภาษาจีนแต้จิ๋วว่า "กา" ซึ่งไปพ้องกับคำว่าทอง เพราะฉะนั้นการให้ส้มจึงเหมือนนำโชคดีไปให้ จะมอบส้มจำนวน 4 ผล ห่อด้วยผ้าเช็ดหน้าของผู้ชาย เหตุที่เรียกวันนี้ว่าวันถือคือ เป็นวันที่ชาวจีนถือว่าเป็นสิริมงคล งดการทำบาป จะมีคติถือบางอย่าง เช่น ไม่พูดจาไม่ดีต่อกัน ไม่ทวงหนี้กัน ไม่จับไม้กวาด และจะแต่งกายด้วยเสื้อผ้าใหม่แล้วออกเยี่ยมอวยพรและพักผ่อนนอกบ้าน เป็นต้น
ที่มา
http://www.foodietaste.com/mustknow_detail.asp?id=16
http://www.horoworld.com
http://www.tumsrivichai.com
รักการทำอาหารไทยและขนมหวานโบราณ โดยยึดต้นตำรับชาววัง และเป็นผู้เขียนหนังสือ "เลาะรั้วครัววัง"
อาจารย์ มาโนชญ์ พูลผล
ที่ปรึกษาการถ่ายภาพ ช่างภาพ วิทยากร บรรยายเรื่องการถ่ายภาพ ของ NIKON THailand
อาจารย์ สยาม เอี่ยมพิชัยฤทธิ์ (ที่ปรึกษาการถ่ายภาพ )
ไม่น่าเชื่อว่าระยะเวลา 365 วันผมทำอาหาร แทบจะไม่ซ้ำกันเลย ด้วยวัตถุดิบของผมก็ได้ จากตลาดใกล้บ้าน
ทนายอ้วน (Chubby Lawyer)
Chef Instructor of Western Culinary Arts of Dusit Thani College
เชฟเบิ้น Wachiravit Homboonyong
Foodie
ผู้หลงรักการทำและชิมอาหาร
Partner
พันธมิตร และแบรนด์วัตถุดิบอาหาร
Professional service
หน่วยงานและองค์กร
Comment (1)
]
แจ้งลบ